วันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือยข่ายคอมพิวเตอร์
3.5 ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานรวมกันเป็นกลุ่ม
ที่เรียกว่า กลุ่มงาน แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน
ก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร
และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน ก็จะได้เครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น
การประยุกต์ใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างกว้างขวางและสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้ อ่านเพิ่มเติม
การประยุกต์ใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างกว้างขวางและสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้ อ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือยข่ายคอมพิวเตอร์
3.4 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสำคัญเพิ่มขึ้น
เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย
จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น
เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง
มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทำงานร่วมกันได้
สิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น
คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร
การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนำข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน
หรือการนำข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู
แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์เพิ่มเติม
|
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือยข่ายคอมพิวเตอร์
3.3 อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.1โมเด็ม
โมเด็มเป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เมื่อข้อมูลถูกส่งมายังผู้รับละแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นแอนะล็อก เมื่อต้องการส่งข้อมูลไปบนช่องสื่อสาร กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก เรียกว่า มอดูเลชัน โมเด็มทำหน้าที่ มอดูเลเตอร์ กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เรียกว่า ดีมอดูเลชัน โมเด็มหน้าที่ ดีมอดูเลเตอร์ โมเด็มที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันมี 2 ประเภทโมเด็กในปัจจุบันทำงานเป็นทั้งโมเด็มและ เครื่องโทรสาร เราเรียกว่า แฟล์กโมเด็มอ่านเพิ่มเติม
โมเด็มเป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เมื่อข้อมูลถูกส่งมายังผู้รับละแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นแอนะล็อก เมื่อต้องการส่งข้อมูลไปบนช่องสื่อสาร กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก เรียกว่า มอดูเลชัน โมเด็มทำหน้าที่ มอดูเลเตอร์ กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เรียกว่า ดีมอดูเลชัน โมเด็มหน้าที่ ดีมอดูเลเตอร์ โมเด็มที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันมี 2 ประเภทโมเด็กในปัจจุบันทำงานเป็นทั้งโมเด็มและ เครื่องโทรสาร เราเรียกว่า แฟล์กโมเด็มอ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือยข่ายคอมพิวเตอร์
3.2 การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล หมายถึง
กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ
โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล
เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
|
![]() |
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือยข่ายคอมพิวเตอร์
3.1
ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลเป็นการถ่ายทอดความรู้
ความคิด
ความรู้สึกจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งโดยอาศัยสื่อหรือเครื่องมือต่างๆเป็นช่องทางในการสื่อสาร
เช่น การสื่อสารด้วยท่าทาง ถ้อยคำ สัญลักษณ์ ภาพวาด จดหมาย โทรเลข เป็นต้น
ต่อมาการสื่อวารข้อมูลได้พัฒนาและก้าวหน้าไปอย่างต่อเนื่อง
มีการนำเทคโนโลยีด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
ทำให้การติดต่อสื่อสารเกิดความสะดวก รวดเร็ว
รวมทั้งได้รับข่าวสารทันเหตุการณ์อีกด้วยอ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน
การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน
สามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้
1. แบบสำเร็จรูป เป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อได้จากตัวแทนจำหน่ายซอฟแวร์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง
ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว
ผู้ใช้สามรถนำไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที
กรณีที่ไม่สามารถเลือกซื้อผ่านทางร้านตัวแทนจำหน่ายได้
อาจเข้าไปในเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์นั้นๆ
แล้วกรอกข้อมูลรายการชำระเงินผ่านระบบแบบฟอร์มบนเว็บ
เมื่อรายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายชำระเงินของผู้ซื้อได้รับการอนุมัติแล้ว อ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน
2.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น เพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น
ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง
ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้นการทำงานใดๆ
โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จำเป็นต้องทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย
ตัวอย่างเช่น
ซอฟต์แวร์ประมวลคำต้องทำงานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสหรือวินโดวส์
เป็นต้นอ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน
2.2 ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบ
คือ
ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ
หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์
เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ
นำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรอง
เมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทันทีที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าอ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน
2.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟแวร์คอมพิวเตอร์
๑.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ หมายถึง
ชุดคำนั่งที่เขียนขึ้นด้วยภาษาของคอมพิวเตอร์
ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ กล่าวคือ
ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่ผู้ใช้มองไม่เห็นและสัมผัสไม่ได้ แต่สามารถรับรู้การทำงานได้
ต่างจากฮาร์ดแวร์ อ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่1 หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
1.4 ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ถ้าพูดถึงลักษณะการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้คงจะแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มด้วยกัน
คือ
กลุ่มแรก คือ
กลุ่มที่เลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์แบบมียี่ห้อ หรือเรียกว่า เครื่องแบรนด์เนม ทั้งแบรนด์เนมของไทยและของต่างประเทศ
เช่น Laser, Powell, IBM, Acer เป็นต้น
กลุ่มที่สอง คือ
กลุ่มที่ผู้ซื้อเครื่องสั่งประกอบตามร้านคอมพิวเตอร์ เช่น พันธ์ทิพย์พลาซ่า เป็นต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
1.3 หลักการเลือกคอมพิวเตอร์
สำหรับหลายๆคนแล้ว การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องที่น่าปวดหัว
เพราะนอกจากคำแนะนำจากคนใกล้ตัวที่มีความรู้หรือเป็นกูรูด้านไอทีแล้ว
ไหนจะมีข้อมูลตามเว็บ หรือหนังสือคู่มือต่างๆที่ทำให้งงมากขึ้น
พอไปถึงหน้าร้าน คนขายยิ่งทำให้งงเข้าไปใหญ่ด้วยศัพท์ไอทีที่ไม่คุ้นหู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
2.1องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์
2. ซอฟแวร์
3. บุคลากรคอมพิวเตอร์
4. ข้อมูล
1. ฮาร์ดแวร์
2. ซอฟแวร์
3. บุคลากรคอมพิวเตอร์
4. ข้อมูล
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆ
ที่ประกอบขึ้นเป็นคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้
เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็อ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
1.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ มี
4 ขั้นตอน ดังนี้
1. รับข้อมูล (Input) คอมพิวเตอร์จะทำหน้าที่รับข้อมูลไปประมวลผล อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูล
ได้แก่ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน
เป็นต้น
2. ประมวลผลข้อมูล (Process) เมื่อคอมพิวเตอร์รับข้อมูลเข้าสู่ระบบแล้วจะทำการประมวลผลตามคำสั่ง
หรือโปรแกรมที่กำหนด อุปกรณ์ทีทำหน้าที่ประมวลไผลได้แก่ CPU
3. แสดงผลข้อมูล (Output) เมื่อทำการประมวลผลแล้ว
คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลคือ
จอภาพและเครื่องพิมพ์ เป็นต้น
4. จัดเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์จะทำการจัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูล
เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี แฟลชไดรว์ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)